มาแล้วจร้าาาา
มาอัพเดตกันห่างหายไปนานพอสมควร พอดีช่วงนี้งานเยอะมากเลยแต่ยังไม่ลืมกันใช่ไหมค่ะ
คราวนี้เราจะมาพูดกันเรื่องของ ฟักทองบัตเตอร์นัตกันว่ามันคืออะไร มันคือฟักทองชนิดหนึ่งที่อร่อยมีรสหวานเฉพาะตัว ทำขนมเค้กอร่อย ซุปฟักทองก็อร่อย น้ำพันช์ก็รสชาติดี
รู้ไหมว่าจังหวัดกาญจนบุรีปลูกได้แล้วววว สำหรับการปลูกเริ่มต้นจากการมีเมล็ดฟักทองบัตเตอร์ก่อนเลย นำดินขุ๋ยมะพร้าวปลูก สองสามวันก็เริ่มงอก แล้วคราวหน้าจะมารีวิวให้ดูต่อค่ะว่า ฟักทองบัตเตอร์จะเป็นอย่างไร สำหรับวันนี้สวัสดีค่ะ
-------- 25/ 07 /58 ---------
Change the area is small become vegetable garden. The vegetable Thai and foreign ( USA) the best for healthy and lack chemicals in body. Use to hand me. เปลี่ยนพื้นที่เล็กกลายเป็นสวนผักที่หลายหลายทั้ง ผักไทยและต่างประเทศ เพื่อสุขภาพที่ดีไร้สารเคมีในร่างกายให้เป็นประโยชน์แทนโทษมหาศาล ด้วยมือเรา
วันศุกร์ที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2558
Butternut squash pumpkin
วันพุธที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2558
เตรียมการปลูกครั้งใหม่...
การได้มาซึ้งครอบครองแห่งเมล็ดผักชุดใหม่สิ่งที่น่าลองคือ ฟักทองบัตเตอร์นัต และแรดิสนี่แหละค่ะ กำลังลุ้น แล้วอีกตัวก็คือ หัวไชเท้าฝรั่งเศษ ตอนนี้ไอซ์ลงดินได้ ไปสามวันแล้วเดี๋ยวจะมา รีวิวให้เพื่อนๆดูกันว่า
การเติบโตของผักแต่ละอย่างจะเป็นไปอย่างไรแล้วมาลุ้นกันนะค่ะ
😀😀😀😀😀😀😀
เอาใจช่วยกันด้วยค่ะ
วันอังคารที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2558
Vegetable update Nov 2014 - Jan 2015
Vegetable update
แปลงผักโฉมใหม่ในปี 2015 สำหรับการปลูกผัก ครั้งใหม่ !! การปลูกผักเพื่อสุขภาพร่างกายที่ดีขึ้นไร้สารเคมี การปลูกผักในปีนี้ จะเน้นด้านการบริโภคผักรับประมานใบมากกว่าผักหัวและการออกผล
การปรับปรุงแปลงผักเดิมเป็นแปลงผักใหม่ รูปแบบการวางบล็อกเพื่อให้ใช้พื้นที่ ๆ คุ้มค่าปลูกผักได้อย่างหลากหลายชนิดและระยะเวลาในการปลูก
ผักรับประมานใบไอซ์จะใช้เวลาปลูกผสมกันกับผักบางชนิดเพราะผักกินใบสามารถรับประทานได้ภายใน 30 วัน ไอซ์จะปลูกร่วมกับผักชนิดอื่นที่เฉลี่ยกันไปกับผักอื่นสัก 50 - 60 วัน
ต้นหอมแบ่งที่ไร่ |
ต้นหอมแบ่ง แม่กำลังยืนดูผลงานค่ะ |
มะเขือเทศมินิเบลตอนกำลังสุก |
มะเขือเทศ มินิเบลลูกกลม กำลังสุข |
มะเขือเทศ Tigella tomato |
คะน้าสก็อตใบหยิกเขียว |
คำน้าสก็อตใบหยิกเขียว |
ผักกวางตุ้งมินิ |
ต้นบล็อกโคลี่ดอกสี่วง |
ถั่วลันเตาไทย |
ผักสลัดคะน้ารัฐเซียสีแดง |
ผักสลัดมิบูน่าและไดโตเกียว |
ผักกาดขาวกินใบไม่ห่อหัว |
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)